พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
ปรอทกรอ ล้านนาเ...
ปรอทกรอ ล้านนาเปียกทอง ลูกใหญ่
ปรอทกรอ เปียกทอง
ปรอทกรอล้านนา หรือ ทางเหนือเรียกกว่า "หน่วยบะป่อย"นั้นเป็นหนึ่งในเครื่องรางล้านนาที่ถือได้ว่าเป็นยอดเครื่องรางทรงค่าหายาก หนึ่งวัดจะมีอยู่ลูกเดียวคือฝังไว้ที่ใต้ฐานพระอุโบสถขนาดมีหลายขนาดทั้งเล็กและใหญ่ ลูกเล็กมักจะเรียกกันว่า “ปรอทกรอตัวผู้ “ ลูกใหญ่มักจะเรียกกันว่า “ปรอทกรอตัวเมีย”
วัตถุประสงค์ของการสร้างปรอทกรอของล้านนาในสมัยโบราณนั้นก็คือการสร้างขึ้นเพื่อใช้ป้องกันสิ่งชั่วร้ายและสิ่งอัปมงคลทั้งปวง รวมถึงโจรผู้ร้ายที่คิดจะมาโขมยของในวัดเมื่อมีโขมยหรือสิ่งผิดปกติเข้ามาปรอทกรอก็จะส่งเสียงดังหรือ ที่เรียกกันว่า “ปรอทกรอวิ่ง”
ภายในลูกปรอทกรอนั้นว่ากันว่าเป็นของวิเศษกายสิทธิ์จำพวกเหล็กไหล หรือปรอทเรียก หรือ ปรอทสำเร็จ ที่พระอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมได้เอาเป็นส่วนผสมของลูกกลมเล็กๆด้านในปรอทกรอ โดยนำเอามาหุงและหล่อเป็นลูกปรอทกายสิทธิ์ ฉนั้นเวลาเขย่าปรอทกรอจะมีเสียงคล้ายมีกริ่งอยู่ข้างในปรอทกรอนั่นก็คือลูกกลมเล็กๆที่ว่านี่เอง
สำหรับที่ค้นพบปรอทกรอนั้นส่วนมากจะพบในดินที่เป็นเคยเป็นบริเวณวัดเก่า หรือ ที่คนทางเหนือล้านนาเรียกว่า วัดร้าง หรือ วัดห่าง นั่นเอง
บ้างจะพบโดยบังเอิญจากการขุดพบหรือจากการขุดที่ถมที่ ในสถานที่เคยเป็นวัดร้างมาก่อน บางท่านก็ได้รับเป็นมรดกตกทอดมาจากปู่ย่าตายาย
เคยมีคนผ่าดูข้างในปรากฏว่ามีความซับซ้อนมากคล้ายหวีที่ใช้หวีผม สับเข้าหากันเวลาเขย่า และมีลูกกลมๆเป็นของวิเศษอยู่ภายใน ประเภทเหล็กไหลเป็นลูกกลมที่มีหลายเลี่ยม เรื่องความหายาก วัดในสมัยก่อนจะมีฝังไว้ที่ใต้อุโบสถทุกวัดแต่หนึ่งวัดจะมีฝังไว้เพียงลูกเดียวเท่านั้น
วิธีการใช้ : ใช้ห้อยคอหรือ พกพาติดตัว(ไม่ควรต่ำกว่าระดับเอว) ใส่พานบูชา หรือ บรรจุบนหัวเสาเรือน
อาณุภาพ : คนสมัยก่อนเชื่อกันว่าปรอทกรอจะนำความร่มเย็นเป็นสุขมาให้ และป้องกันสิ่งอัปมงคลทั้งปวง เตือนเมื่อมีภัย บูชาไว้เป็นสิริมงคลให้ลาภ และคุ้มกันบ้านเรือนและผู้อาศัย
บันทึกเกี่ยวกับปรอทกรอคือเป็นวัตถุมงคล เป็นของดีที่แต่ละวัดจะมีเพียงลูกเดียวเท่านั้นฝังไว้ใต้ฐานพระอุบสถ(มีหลายขนาด) เพื่อป้องกันสิ่งชั่วร้ายและสิ่งอัปมงคลทั้งปวง ในเรืองของความศัทธาความเชื่อศาสนาพุทธก่อนโบราณ เมืองโบราณ ณ หนึ่งเมือง เช่น จ.เชียงใหม่มีอำเภอแบ่งเป็น 24 อำเภอ แต่ละอำเภอก็มีตำบล บ้าน แบ่งย่อยออกมา คนโบราณก็แบ่งเป็น เมือง เช่น เมือง ฮอดโบราณ อำเภอฮอด ในปัจจุบันเมืองหนึ่งก็สร้างวัดหลายวัด คนโบราณ เชื่อกันว่าหนึ่งวัดได้บรรจุของวิเศษแทนคนรักษาวัดวาอารามของวิเศษนี้ชื่อว่า ปรอทกรอ บรรจุไว้ใต้ฐานวิหาร หรือ อุโบสถ "วัดละหนึ่งลูกเท่านั้น" คนสมัยโบราณเชื่อกันว่ามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้องวัดจึงให้หญิงสาวบริสุทธิ์และชายโสด มาร่วมพิธีกรรมฝังวิญาณพร้อมกันไปกับปรอทกรอ คนโบราณจึงเชื่อกันว่ามีสิ่งวิเศษของดีปกป้องภัย เช่น กันภูตผีปีศาจร้าย กันขโมย สร้างความร่มเย็นเป็นสุจแก่ศัทธาลูกวัด ตามความเชื่อแต่ครั้งโบราณเชื่อกันว่า "ของบก" ก็มีเหมือนกัน เช่น บ้าน ตลาด วัด เป็นต้น สันนิฐานว่าน่าเป็น "ของวิเศษใช้ปกป้องคุ้มครองภัย"
ปรอทกรอแบ่งเป็นชนิดๆ เช่น 1. ปรอทกรอทองคำ 2.ปรอทกรอเนื้อสำริด 3.ปรอทกรอสำริดแก่ทองคำ 4.ปรอทกรอดินเผา(พบน้อยมากส่วนมากบรรจุอุโบสถวัดที่ห่างใกล้) และแบ่งเป็นขนาดๆ ที่พบเห็นตามมาตรฐานสากล คือ 1.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 2เซนติเมตร 2.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด1นิ้ว 3.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด1นิ้วครึ่ง 4.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด2นิ้ว(พบเห็นน้อยมาก) การสร้างปรอทกรอได้มีผู้พิสูตรลองผ่าดู พบว่ามีแผ่นเรียกว่าแผ่นสำริดบางเฉียบวางซ้อนๆ กันเป็นซั้นๆ สลับๆ กันและบางลูกสร้างเป็นขดลวดสำริดกลไกที่ซับซ้อนมีลูกในที่ทำให้เกิดเสียงสันนิฐานว่าเป็นลูกเหล็ก(คนโบราณเชื่อว่าเป็นเหล็กไหล) แล้วแต่ความเชื่อส่วนบุคคล เป็นศิลปะความคิดคนโบราณที่สร้างกลไกที่สุดยอดที่คนปัจจุบันสร้างทำเลียนแบบไม่ได้ ปรอทกรอที่ดัง คือ ปรอทกรอที่ไม่ตายจะมีเสียงดังดีไหลลื่นตลอดเป็นเวลานานๆ ส่วนมากแผ่นการเวลามานานบวกกับสภาพผิวของเมืองหรือวัดบางที่อาจสร้างอยู่ลุ่มน้ำ ทำให้แช่น้ำเป็นเวลานานๆ หรือขึ้นอยู่กับสภาพผิวดินในแต่ละที่ๆ เสียงดังไม่ดี เมืองที่มีความเจริญมาก เช่น "วัดหัวเมือง" ก็จะสร้างปรอกรอ เช่น ปรอทกรอทองคำ รองมาเป็นระดับๆ จนถึงปรอทกรอดินเผาซึ่งพบเห็นน้อยที่สุดมีก็ไม่สมบูรณ์ ข้อมูลความรู้จากนักสะสมของเก่าและนักวิชาการเรื่องเมืองโบราณล้านนา ชมรมนักสมของเก่าศิลปะวัฒนธรรมและชมรมเครื่องรางแดนล้านนา
ปรอทกรอเป็นเครื่องรางของขลังยุคโบราณที่หายากมากชนิดหนึ่งมีสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยเชียงแสนจนถึงอยุธยา อีกทั้งยังถือเป็นยุทธโธปกรณ์ทางการทหารในสมัยโบราณ มีใช้ในชนชั้นสูง เช่น วรรณะกษัตริย์และแม่ทัพนายกอง เมื่อถูกสั่นสะเทือนแม้เพียงเล็กน้อยจะส่งเสียงร้องคล้ายจั๋กจั่น เสียงกังวานไพเราะ เมื่อยามช้างศึกม้าศึกกรีฑาทัพมาจะส่งเสียงร้องเตือนภัยแก่แม่ทัพนายกองได้ หรือเวลานอนก็นำมาวางข้างหู เพื่อเตือนภัยเช่นกัน ปัจจุบันใช้เป็นเครื่องรางร้องเตือนภัยแก่ผู้เป็นเจ้าของ และป้องกันสิ่งชั่วร้ายสิ่งอัปมงคลต่างๆ ทั้งยังเด่นด้านคงกระพันชาตรีและนำโชคลาภความร่มเย็นเป็นสุขแก่ผู้ครอบครอง ปัจจุบันพบเจอน้อยมาก ลูกนี้ขนาด 2 นิ้ว เสียงดังกังวาลดี รับประกันแท้
ผู้เข้าชม
201 ครั้ง
ราคา
3500
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
0853783943
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
744-2-522xx-x

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ponsrithong2termboonปลั๊ก ปทุมธานีsomphopแมวดำ99Namzaza
TotoTatochaokohหมี คุณพระช่วยชาวานิชชา วานิชchatsurin
Kumpangchaithawatพรหลวงปู่มหาศิลาchathanumaanอ้วนโนนสูงAmuletMan
หนึ่งเทคนิคเทพจิระนรินทร์ ทัพไทยZomlazzaliโกหมูพระเครื่องโคกมน
Jeerapong32น้ำตาลแดงeknarinstp253บ้านพระสมเด็จNithiporn

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1488 คน

เพิ่มข้อมูล

ปรอทกรอ ล้านนาเปียกทอง ลูกใหญ่




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
ปรอทกรอ ล้านนาเปียกทอง ลูกใหญ่
รายละเอียด
ปรอทกรอ เปียกทอง
ปรอทกรอล้านนา หรือ ทางเหนือเรียกกว่า "หน่วยบะป่อย"นั้นเป็นหนึ่งในเครื่องรางล้านนาที่ถือได้ว่าเป็นยอดเครื่องรางทรงค่าหายาก หนึ่งวัดจะมีอยู่ลูกเดียวคือฝังไว้ที่ใต้ฐานพระอุโบสถขนาดมีหลายขนาดทั้งเล็กและใหญ่ ลูกเล็กมักจะเรียกกันว่า “ปรอทกรอตัวผู้ “ ลูกใหญ่มักจะเรียกกันว่า “ปรอทกรอตัวเมีย”
วัตถุประสงค์ของการสร้างปรอทกรอของล้านนาในสมัยโบราณนั้นก็คือการสร้างขึ้นเพื่อใช้ป้องกันสิ่งชั่วร้ายและสิ่งอัปมงคลทั้งปวง รวมถึงโจรผู้ร้ายที่คิดจะมาโขมยของในวัดเมื่อมีโขมยหรือสิ่งผิดปกติเข้ามาปรอทกรอก็จะส่งเสียงดังหรือ ที่เรียกกันว่า “ปรอทกรอวิ่ง”
ภายในลูกปรอทกรอนั้นว่ากันว่าเป็นของวิเศษกายสิทธิ์จำพวกเหล็กไหล หรือปรอทเรียก หรือ ปรอทสำเร็จ ที่พระอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมได้เอาเป็นส่วนผสมของลูกกลมเล็กๆด้านในปรอทกรอ โดยนำเอามาหุงและหล่อเป็นลูกปรอทกายสิทธิ์ ฉนั้นเวลาเขย่าปรอทกรอจะมีเสียงคล้ายมีกริ่งอยู่ข้างในปรอทกรอนั่นก็คือลูกกลมเล็กๆที่ว่านี่เอง
สำหรับที่ค้นพบปรอทกรอนั้นส่วนมากจะพบในดินที่เป็นเคยเป็นบริเวณวัดเก่า หรือ ที่คนทางเหนือล้านนาเรียกว่า วัดร้าง หรือ วัดห่าง นั่นเอง
บ้างจะพบโดยบังเอิญจากการขุดพบหรือจากการขุดที่ถมที่ ในสถานที่เคยเป็นวัดร้างมาก่อน บางท่านก็ได้รับเป็นมรดกตกทอดมาจากปู่ย่าตายาย
เคยมีคนผ่าดูข้างในปรากฏว่ามีความซับซ้อนมากคล้ายหวีที่ใช้หวีผม สับเข้าหากันเวลาเขย่า และมีลูกกลมๆเป็นของวิเศษอยู่ภายใน ประเภทเหล็กไหลเป็นลูกกลมที่มีหลายเลี่ยม เรื่องความหายาก วัดในสมัยก่อนจะมีฝังไว้ที่ใต้อุโบสถทุกวัดแต่หนึ่งวัดจะมีฝังไว้เพียงลูกเดียวเท่านั้น
วิธีการใช้ : ใช้ห้อยคอหรือ พกพาติดตัว(ไม่ควรต่ำกว่าระดับเอว) ใส่พานบูชา หรือ บรรจุบนหัวเสาเรือน
อาณุภาพ : คนสมัยก่อนเชื่อกันว่าปรอทกรอจะนำความร่มเย็นเป็นสุขมาให้ และป้องกันสิ่งอัปมงคลทั้งปวง เตือนเมื่อมีภัย บูชาไว้เป็นสิริมงคลให้ลาภ และคุ้มกันบ้านเรือนและผู้อาศัย
บันทึกเกี่ยวกับปรอทกรอคือเป็นวัตถุมงคล เป็นของดีที่แต่ละวัดจะมีเพียงลูกเดียวเท่านั้นฝังไว้ใต้ฐานพระอุบสถ(มีหลายขนาด) เพื่อป้องกันสิ่งชั่วร้ายและสิ่งอัปมงคลทั้งปวง ในเรืองของความศัทธาความเชื่อศาสนาพุทธก่อนโบราณ เมืองโบราณ ณ หนึ่งเมือง เช่น จ.เชียงใหม่มีอำเภอแบ่งเป็น 24 อำเภอ แต่ละอำเภอก็มีตำบล บ้าน แบ่งย่อยออกมา คนโบราณก็แบ่งเป็น เมือง เช่น เมือง ฮอดโบราณ อำเภอฮอด ในปัจจุบันเมืองหนึ่งก็สร้างวัดหลายวัด คนโบราณ เชื่อกันว่าหนึ่งวัดได้บรรจุของวิเศษแทนคนรักษาวัดวาอารามของวิเศษนี้ชื่อว่า ปรอทกรอ บรรจุไว้ใต้ฐานวิหาร หรือ อุโบสถ "วัดละหนึ่งลูกเท่านั้น" คนสมัยโบราณเชื่อกันว่ามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้องวัดจึงให้หญิงสาวบริสุทธิ์และชายโสด มาร่วมพิธีกรรมฝังวิญาณพร้อมกันไปกับปรอทกรอ คนโบราณจึงเชื่อกันว่ามีสิ่งวิเศษของดีปกป้องภัย เช่น กันภูตผีปีศาจร้าย กันขโมย สร้างความร่มเย็นเป็นสุจแก่ศัทธาลูกวัด ตามความเชื่อแต่ครั้งโบราณเชื่อกันว่า "ของบก" ก็มีเหมือนกัน เช่น บ้าน ตลาด วัด เป็นต้น สันนิฐานว่าน่าเป็น "ของวิเศษใช้ปกป้องคุ้มครองภัย"
ปรอทกรอแบ่งเป็นชนิดๆ เช่น 1. ปรอทกรอทองคำ 2.ปรอทกรอเนื้อสำริด 3.ปรอทกรอสำริดแก่ทองคำ 4.ปรอทกรอดินเผา(พบน้อยมากส่วนมากบรรจุอุโบสถวัดที่ห่างใกล้) และแบ่งเป็นขนาดๆ ที่พบเห็นตามมาตรฐานสากล คือ 1.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 2เซนติเมตร 2.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด1นิ้ว 3.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด1นิ้วครึ่ง 4.เส้นผ่าศูนย์กลางขนาด2นิ้ว(พบเห็นน้อยมาก) การสร้างปรอทกรอได้มีผู้พิสูตรลองผ่าดู พบว่ามีแผ่นเรียกว่าแผ่นสำริดบางเฉียบวางซ้อนๆ กันเป็นซั้นๆ สลับๆ กันและบางลูกสร้างเป็นขดลวดสำริดกลไกที่ซับซ้อนมีลูกในที่ทำให้เกิดเสียงสันนิฐานว่าเป็นลูกเหล็ก(คนโบราณเชื่อว่าเป็นเหล็กไหล) แล้วแต่ความเชื่อส่วนบุคคล เป็นศิลปะความคิดคนโบราณที่สร้างกลไกที่สุดยอดที่คนปัจจุบันสร้างทำเลียนแบบไม่ได้ ปรอทกรอที่ดัง คือ ปรอทกรอที่ไม่ตายจะมีเสียงดังดีไหลลื่นตลอดเป็นเวลานานๆ ส่วนมากแผ่นการเวลามานานบวกกับสภาพผิวของเมืองหรือวัดบางที่อาจสร้างอยู่ลุ่มน้ำ ทำให้แช่น้ำเป็นเวลานานๆ หรือขึ้นอยู่กับสภาพผิวดินในแต่ละที่ๆ เสียงดังไม่ดี เมืองที่มีความเจริญมาก เช่น "วัดหัวเมือง" ก็จะสร้างปรอกรอ เช่น ปรอทกรอทองคำ รองมาเป็นระดับๆ จนถึงปรอทกรอดินเผาซึ่งพบเห็นน้อยที่สุดมีก็ไม่สมบูรณ์ ข้อมูลความรู้จากนักสะสมของเก่าและนักวิชาการเรื่องเมืองโบราณล้านนา ชมรมนักสมของเก่าศิลปะวัฒนธรรมและชมรมเครื่องรางแดนล้านนา
ปรอทกรอเป็นเครื่องรางของขลังยุคโบราณที่หายากมากชนิดหนึ่งมีสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยเชียงแสนจนถึงอยุธยา อีกทั้งยังถือเป็นยุทธโธปกรณ์ทางการทหารในสมัยโบราณ มีใช้ในชนชั้นสูง เช่น วรรณะกษัตริย์และแม่ทัพนายกอง เมื่อถูกสั่นสะเทือนแม้เพียงเล็กน้อยจะส่งเสียงร้องคล้ายจั๋กจั่น เสียงกังวานไพเราะ เมื่อยามช้างศึกม้าศึกกรีฑาทัพมาจะส่งเสียงร้องเตือนภัยแก่แม่ทัพนายกองได้ หรือเวลานอนก็นำมาวางข้างหู เพื่อเตือนภัยเช่นกัน ปัจจุบันใช้เป็นเครื่องรางร้องเตือนภัยแก่ผู้เป็นเจ้าของ และป้องกันสิ่งชั่วร้ายสิ่งอัปมงคลต่างๆ ทั้งยังเด่นด้านคงกระพันชาตรีและนำโชคลาภความร่มเย็นเป็นสุขแก่ผู้ครอบครอง ปัจจุบันพบเจอน้อยมาก ลูกนี้ขนาด 2 นิ้ว เสียงดังกังวาลดี รับประกันแท้
ราคาปัจจุบัน
3500
จำนวนผู้เข้าชม
202 ครั้ง
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
0999309839
ID LINE
0853783943
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
2. ธนาคารกสิกรไทย / 744-2-522xx-x




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี